วันพฤหัสบดีที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2560

เทคนิคพิชิตข้อสอบ [ปปช.] ผู้ช่วยพนักงานไต่สวนปฏิบัติการ สายงานปราบปรามการทุจริต อัพเดทล่าสุด 60




สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ  
ประกาศสำนักงาน ป.ป.ช. เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่งผู้ช่วยพนักงานไต่สวนปฏิบัติการ สายงานปราบปรามการทุจริต 

ตำแหน่งผู้ช่วยพนักงานไต่สวยและปฏิบัติการ สายงานปราบปรามการทุจริต 
จำนวน 50  อัตรา 
อัตราเงินเดือน 15,000 บาท ( + ค่าตอบแทนข้าราชการพิเศษ 6,000 บาท ) 
วุฒิการศึกษา : ปริญญาตรี 

 ระดับการศึกษา : 
1.เป็นผู้สอบไล่ได้ความรู้ชั้นเนติบัญฑิตตามหลักสูตรของสำนักอบรมศึกษากฏหมายแห่งเนติบัณฑิตสภา 
2.มีประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 1 ปี ในการไต่สวนและวินิจฉัยคดี หรือดำเนินการคดีในศาล หรือการให้ความเห็นทางกฏหมายตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กำหนดรายละเอียดปรากฏตามเอกสารแนบท้าย 
3.เป็นผู้สอบผ่านความรู้ความสามารถทั่วไปของ ก.พ. ในระดับปริญญาตรีขึ้นไป 

การรับสมัครสอบ 
ผู้สมัครที่ประสงค์จะสมัครสอบ สามารถสมัครได้ทางอินเทอร์เน็ต ที่เว็บไซต์http://job.nacc.go.th ในหัวข้อรับสมัครงาน ตั้งแต่ วันที่  23 พฤษภาคม - 15 มิถุนายน 2558 ตลอด 24 ชั่วโมงไม่เว้นวันหยุดราชการ (ยกเว้นวันสุดท้าย คือ วันที่ 8 มิถุนายน 2558  จะต้องสมัครภายในเวลา 18.00 น.) 

คำถาม : หากต้องการสอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับการสมัครสอบ เช่นการกรอกใบสมัคร การส่งใบสมัคร การพิมพ์ใบสมัคร หรือการค้นหาใบสมัคร สามารถติดต่อได้ที่ใด 

คำตอบ : ผู้สมัครสามารถติดต่อได้ที่ Call Center โทร. 0-2257-7230 ในวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 8.30-17.30 น. 

ดาวน์โหลดรายละเอียดประกาศ :: ไฟล์แนบ




แนวข้อสอบสำนักงาน ปปช. ใหม่ล่าสุด
11. การคัดเลือกบุคคลให้ดำรงตำแหน่งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม 
การทุจริตแห่งชาตินั้น ต้องได้รับคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเท่าใดของจำนวนกรรมการสรรหาทั้งหมด 
เท่าที่มีอยู่ 
ก. ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสอง ข. ไม่น้อยกว่าสองในสาม 
ค. ไมน้อยกว่าสองในห้า ง. ไม่น้อยกว่าสามในสี่ 
ตอบ ง. ไม่น้อยกว่าสามในสี่ 
  ต้องมีการเลือกบุคคลให้ดำรงตำแหน่งดังกล่าว มติในการเสนอชื่อต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำนวนกรรมการสรรหาทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ 
12. ผู้ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการนั้น ต้องมีอายุไม่ต่ำกว่าเท่าใด 
ก. สามสิบห้าปีบริบูรณ์ ข. สี่สิบปีบริบูรณ์ 
ค. สี่สิบห้าปีบริบูรณ์ ง. ห้าสิบปีบริบูรณ์ 
ตอบ ค. สี่สิบห้าปีบริบูรณ์ 
  มาตรา 9 ผู้ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ 
  (1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด 
  (2) มีอายุไม่ต่ำกว่าสี่สิบห้าปีบริบูรณ์ 
  (3) เคยเป็นรัฐมนตรี ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดินของ 
รัฐสภา กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ หรือกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน หรือรับราชการหรือเคย 
รับราชการในตำแหน่ง ไม่ต่ำกว่ารองอัยการสูงสุด อธิบดีหรือเทียบเท่าหรือดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่า 
ศาสตราจารย์ 
13. กรรมการมีวาระในการดำรงตำแหน่งกี่ปี นับแต่ได้รับการแต่งตั้ง 
ก. สองปี ข. สี่ปี 
ค. หกปี ง. เก้าปี 
ตอบ ง. เก้าปี 
  มาตรา 12 กรรมการมีวาระการดำรงตำแหน่งเก้าปีนับแต่วันที่ พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง 
และให้ดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว 
14. คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติพ้นจากตำแหน่ง 
ตามข้อใด 
ก. ตาย ข. มีอายุครบเจ็ดสิบปีบริบูรณ์ 
ค. ต้องคำพิพากษาให้จำคุก 
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ 
  มาตรา 13 นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระตาม มาตรา 12 กรรมการพ้นจากตำแหน่ง
เมื่อ (1) ตาย 
  (2) มีอายุครบเจ็ดสิบปีบริบูรณ์ 
  (3) ลาออก 
  (4) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา 9 หรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 10 
  (5) กระทำการอันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 11 
  (6) วุฒิสภามีมติให้พ้นจากตำแหน่งตามมาตรา 16 
  (7) ต้องคำพิพากษาให้จำคุก 
15. เมื่อกรรมการพ้นจากตำแหน่งให้เริ่มดำเนินการสรรหาภายในกี่วันนับแต่วันที่พ้นจากตำแหน่ง 
ก. ภายในเจ็ดวัน ข. ภายในสิบห้าวัน 
ค. ภายในสามสิบวัน ง. ภายในสี่สิบห้าวัน 
ตอบ ค. ภายในสามสิบวัน 
  มาตรา 14 เมื่อกรรมการพ้นจากตำแหน่งให้เริ่มดำเนินการตามมาตรา 7 ภายในสามสิบวัน 
นับแต่วันที่พ้นจากตำแหน่ง
http://sheetkhosob.blogspot.com/2017/01/60_12.html http://sheetkhosob.blogspot.com/2017/01/60_12.html
รวมแนวข้อสอบ พร้อมเฉลยจากสนามสอบจริงในการสอบทั่วประเทศ 
สรุปเนื้อหา สาระสำคัญ โดยทีมวิชาการมืออาชีพ ประสบการณ์มากกว่า 10 ปี
  


http://sheetkhosob.blogspot.com/2017/01/60_12.html 
  
 
คู่มือติว แนวข้อสอบสำนักงาน ปปช. 

#แนวข้อสอบผู้ช่วยพนักงานไต่สวนปฏิบัติการ 

รวบรวมข้อสอบที่ออกบ่อย ครบที่ออกสอบ

ประกอบด้วย สรุปเนื้อหาสำคัญและแนวข้อสอบเด็ดๆ


- ความรู้เกี่ยวกับสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

แนวข้อสอบ พรบ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พศ.2542

- ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เฉพาะมาตราที่เกี่ยวข้องกับ  ป.ป.ช.
อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต


สรุป + แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกา บ้านเมืองที่ดี 2546 

- สรุป + แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540

- สรุป + แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551

- ถาม - ตอบ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

- ถาม - ตอบ ประมวลกฎหมายอาญา


สำหรับตำแหน่งที่ไม่ได้ลงประกาศไว้มีจัดจำหน่ายตามหลักสูตรการสอบ 
สนใจติดต่อสอบถามหรือสั่งซื้อมาที่ LINE ID : muktit  โทร 080450 5746


คู่มือแนวข้อสอบมี 2 แบบ คือ
****1. ไฟล์ PDF ราคา 399 บาท (ส่งทางอีเมลล์ ได้รับภายในวันที่สั่งซื้อ รวดเร็วและประหยัด)****
****2. หนังสือ + MP3 ราคา 899 บาท (ส่งฟรี EMS ทางไปรษณีย์ ประมาณ 3 วัน พร้อม MP3 บรรยาย)****



@@@จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบ update ใหม่ล่าสุดของตำแหน่งที่กำลังเปิดสอบ@@@ 



รายละเอียดภายในไฟล์ประกอบด้วย :
- แนวข้อสอบทุกวิชาที่ใช้สอบของแต่ละหน่วยงาน
- รวมข้อสอบเก่าเด็ดๆ และข้อสอบที่ออกบ่อยมาก พร้อมเฉลย
- รวบรวมจากหนังสือมากกว่าสิบเล่ม และรุ่นพี่ที่สอบจากสนามจริง
- รายละเอียดเอกสารแนวข้อสอบ จดลิขสิทธิ์ถูกต้อง  


******แนวข้อสอบความเหมาะสมกับตำแหน่ง เลือกตามตำแหน่งที่สอบ*******

         สนใจสอบถาม/ติดต่อสั่งซื้อ : 
โทร       :  080 450 5746
Line ID  :  muktit
E-mail    : vijjadh@gmail.com 


1. พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ฉบับปัจจุบันแก้ไข 
เพิ่มเติมฉบับใด พ.ศ. ใด 
ก. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550 ข. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 
ค. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552 ง. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554 
ตอบ ง. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554 
2. พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มีผลบังคับใช้เมื่อใด 
ก. ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา 
ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา 
ค. 7 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา 
ง. 15 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา 
ตอบ ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา 
  มาตรา 2 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศ 
ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป 
3. “ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง” หมายความถึงบุคคลใด
ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรี 
ค. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ง. ถูกทุกข้อ 
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ 
  “ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง” หมายความว่า
  (1) นายกรัฐมนตรี 
  (2) รัฐมนตรี 
  (3) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 
  (4) สมาชิกวุฒิสภา 
  (5) ข้าราชการการเมืองอื่นนอกจาก (1) (2) ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการการเมือง
  (6) ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา 
  (7) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร 
  (8) ผู้บริหารและสมาชิกสภาเทศบาลนคร 
  (9) ผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายได้หรืองบประมาณ 
ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติกำหนดโดยประกาศใน 
ราชกิจจานุเบกษา 
4. การที่ทรัพย์สินหรือหนี้สินในบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินที่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองได้ยื่น 
เมื่อพ้นจากตำแหน่งมีการเปลี่ยนแปลงไปจากบัญชีแสดงรายการ ทรัพย์สินและหนี้สินที่ได้ยื่นเมื่อเข้ารับ 
ตำแหน่งในลักษณะที่ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติหรือหนี้สินลดลงผิดปกติ หมายความถึงข้อใด 
ก. ทุจริตต่อหน้าที่ ข. ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ 
ค. ร่ำรวยผิดปกติ ง. ทุจริตต่อหน้าที่ 
ตอบ ข. ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ 
  “ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ”  หมายความว่า การที่ทรัพย์สินหรือหนี้สินในบัญชีแสดงรายการ 
ทรัพย์สินและหนี้สินที่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองได้ยื่นเมื่อพ้นจากตำแหน่งมีการเปลี่ยนแปลงไปจาก 
บัญชีแสดงรายการ ทรัพย์สินและหนี้สินที่ได้ยื่นเมื่อเข้ารับตำแหน่งในลักษณะที่ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ 
หรือหนี้สินลดลงผิดปกติ 
5. หมวด 1 ใน พรบ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับ 
เรื่องใด 
ก. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 
ข. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 
ค. การตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน 
ง. การไต่สวนข้อเท็จจริง 
ตอบ ก. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 
6. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเรียกโดยย่อว่าอะไร 
ก. คณะกรรมการ ป.ป.ช. ข. คณะกรรมการ ปปช. 
ค. คณะกรรมการ คปช. ง. คณะกรรมการ คกช. 
ตอบ ก. คณะกรรมการ ป.ป.ช. 
  มาตรา 6 ให้มีคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเรียกโดยย่อว่า 
“คณะกรรมการ ป.ป.ช.” ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีก
แปดคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา 
7. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนกี่คน
ก. ห้าคน ข. หกคน
ค. เจ็ดคน ง. แปดคน 
ตอบ ง. แปดคน 
  มาตรา 6 ให้มีคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเรียกโดยย่อว่า 
“คณะกรรมการ ป.ป.ช.” ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีก
แปดคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา 
8. คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาตินั้น
พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำและยินยอมของผู้ใด
ก. วุฒิสภา ข. รัฐสภา 
ค. คณะรัฐมนตรี ง. นายกรัฐมนตรี 
ตอบ ก. วุฒิสภา 
   คำอธิบายดังข้อข้างต้น 
9. ประธานวุฒิสภา จัดให้มีคณะกรรมการสรรหากรรมการจำนวนกี่คน 
ก. สิบคน ข. สิบสองคน
ค. สิบสามคน ง. สิบห้าคน 
ตอบ ง. สิบห้าคน 
  มาตรา 7 การสรรหาและการเลือกกรรมการให้ดำเนินการดังต่อไปนี้ 
  (1) ให้ประธานวุฒิสภาจัดให้มีคณะกรรมการสรรหากรรมการจำนวนสิบห้าคน ประกอบด้วย 
ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด อธิการบดีของสถาบันอุดมศึกษา 
ของรัฐที่เป็นนิติบุคคลทุกแห่งซึ่งเลือกกันเองให้เหลือเจ็ดคน ผู้แทนพรรคการเมืองทุกพรรคที่มีสมาชิก 
เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคละหนึ่งคน ซึ่งเลือกกันเองให้เหลือห้าคน และให้คณะกรรมการ 
สรรหามีหน้าที่สรรหาและจัดทำบัญชีรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนสิบแปดคนเสนอต่อประธานวุฒิสภา 
โดยต้องเสนอพร้อมความยินยอมของผู้ได้รับการเสนอชื่อนั้นทั้งนี้ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มีเหตุ 
ทำให้ต้องมีการเลือกบุคคลให้ดำรงตำแหน่งดังกล่าว มติในการเสนอชื่อต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 
สามในสี่ของจำนวนกรรมการสรรหาทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ 
10. ข้อใดเป็นคณะกรรมการสรรหากรรมการ 
ก. ประธานศาลฎีกา ข. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ 
ค. ประธานศาลปกครองสูงสุด ง. ถูกทุกข้อ 
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ 
  คำอธิบายดังข้อข้างต้น 
11. การคัดเลือกบุคคลให้ดำรงตำแหน่งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม 
การทุจริตแห่งชาตินั้น ต้องได้รับคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเท่าใดของจำนวนกรรมการสรรหาทั้งหมด 
เท่าที่มีอยู่ 
ก. ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสอง ข. ไม่น้อยกว่าสองในสาม 
ค. ไมน้อยกว่าสองในห้า ง. ไม่น้อยกว่าสามในสี่ 
ตอบ ง. ไม่น้อยกว่าสามในสี่ 
  ต้องมีการเลือกบุคคลให้ดำรงตำแหน่งดังกล่าว มติในการเสนอชื่อต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำนวนกรรมการสรรหาทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ 
12. ผู้ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการนั้น ต้องมีอายุไม่ต่ำกว่าเท่าใด 
ก. สามสิบห้าปีบริบูรณ์ ข. สี่สิบปีบริบูรณ์ 
ค. สี่สิบห้าปีบริบูรณ์ ง. ห้าสิบปีบริบูรณ์ 
ตอบ ค. สี่สิบห้าปีบริบูรณ์ 
  มาตรา 9 ผู้ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ 
  (1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด 
  (2) มีอายุไม่ต่ำกว่าสี่สิบห้าปีบริบูรณ์ 
  (3) เคยเป็นรัฐมนตรี ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดินของ 
รัฐสภา กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ หรือกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน หรือรับราชการหรือเคย 
รับราชการในตำแหน่ง ไม่ต่ำกว่ารองอัยการสูงสุด อธิบดีหรือเทียบเท่าหรือดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่า 
ศาสตราจารย์ 
13. กรรมการมีวาระในการดำรงตำแหน่งกี่ปี นับแต่ได้รับการแต่งตั้ง 
ก. สองปี ข. สี่ปี 
ค. หกปี ง. เก้าปี 
ตอบ ง. เก้าปี 
  มาตรา 12 กรรมการมีวาระการดำรงตำแหน่งเก้าปีนับแต่วันที่ พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง 
และให้ดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว 
14. คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติพ้นจากตำแหน่ง 
ตามข้อใด 
ก. ตาย ข. มีอายุครบเจ็ดสิบปีบริบูรณ์ 
ค. ต้องคำพิพากษาให้จำคุก 
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ 
  มาตรา 13 นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระตาม มาตรา 12 กรรมการพ้นจากตำแหน่ง
เมื่อ (1) ตาย 
  (2) มีอายุครบเจ็ดสิบปีบริบูรณ์ 
  (3) ลาออก 
  (4) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา 9 หรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 10 
  (5) กระทำการอันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 11 
  (6) วุฒิสภามีมติให้พ้นจากตำแหน่งตามมาตรา 16 
  (7) ต้องคำพิพากษาให้จำคุก 
15. เมื่อกรรมการพ้นจากตำแหน่งให้เริ่มดำเนินการสรรหาภายในกี่วันนับแต่วันที่พ้นจากตำแหน่ง 
ก. ภายในเจ็ดวัน ข. ภายในสิบห้าวัน 
ค. ภายในสามสิบวัน ง. ภายในสี่สิบห้าวัน 
ตอบ ค. ภายในสามสิบวัน 
  มาตรา 14 เมื่อกรรมการพ้นจากตำแหน่งให้เริ่มดำเนินการตามมาตรา 7 ภายในสามสิบวัน 
นับแต่วันที่พ้นจากตำแหน่ง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น