วันศุกร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2559

เทคนิคพิชิตข้อสอบ [ครูผู้ช่วยท้องถิ่น] ทุกสาขาวิชาเอก ฉบับอัพเดทจากสนามสอบจริง 59


  

แนวข้อสอบครูผู้ช่วยท้องถิ่น รวบทุกอย่างที่ออกสอบ ทุกสาขาวิชา
ประกอบด้วยแนวข้อสอบเก่าที่ออกบ่อย เก็งข้อสอบเด็ด เฉลยพร้อมอธิบาย และสรุปเนื้อหาสำคัญ
1. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เป็นไปตามบทบัญญัติใน รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 มาตราใด
ก. 29
ข. 40
ค. 50
ง. 81

2. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติจัดเป็น
ก. กฎหมายแม่บทการจัดการศึกษา
ข. แนวทางจัดการศึกษาของรัฐ
ค. การปรับปรุงการศึกษาสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ
ง. การปฏิรูปการศึกษาครั้งใหญ่ของไทย

3. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ฉบับแรก มีผลบังคับใช้ตั้งแต่เมื่อใด
ก. 19 สิงหาคม 2542
ข. 20 สิงหาคม 2542
ค. 19 ธันวาคม 2545
ง. 20 ธันวาคม 2545

4. วัตถุประสงค์ของการจัดทำ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
ก. ปรับปรุงการศึกษาให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม
ข. ปฏิรูปการศึกษาของไทย
ค. พัฒนาคนไทยเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายจิตใจ
ง. พัฒนาศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

5. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ สอดคล้องกับข้อใดมากที่สุด
ก. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมแห่งชาติ
ข. แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ
ค. แผนการศึกษาแห่งชาติ
ง. แผนพัฒนาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมของกระทรวงศึกษาธิการ

6. ต่อไปนี้ ข้อใดไม่สอดคล้องคำว่าการศึกษา
ก. การถ่ายทอดความรู้
ข. การฝึกอบรม
ค. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ง. การสืบสานทางวัฒนธรรม

7. ข้อใดให้ความหมายไม่ตรงกับ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
ก. การศึกษาขั้นพื้นฐาน คือการศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา
ข. สถานศึกษา คือสถานที่จัดการสอนตั้งแต่ก่อนประถม ถึงระดับก่อนอุดมศึกษา
ค. มาตรฐานการศึกษา เป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ และ
มาตรฐานที่ต้องการให้เกิดในสถานศึกษาทุกแห่ง
ง. กระทรวง หมายความว่ากระทรวงศึกษาธิการ
http://sheetkhosob.blogspot.com/2016/10/59.html 

รวมแนวข้อสอบ พร้อมเฉลยจากสนามสอบจริงในการสอบทั่วประเทศ  
สรุปเนื้อหา สาระสำคัญ โดยทีมวิชาการมืออาชีพ ประสบการณ์มากกว่า 10 ปี

http://sheetkhosob.blogspot.com/2016/10/59.html 


จำหน่าย คู่มือสอบ แนวข้อสอบครูผู้ช่วยท้องถิ่น ทุกสาขาวิชาเอก อัพเดทล่าสุด
ใช้สอบ ครูผู้ช่วยเทศบาล อบจ. อบต. และในส่วนที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นเปิดสอบ ทุกแห่ง
วิชาเอกครูผู้ช่วยท้องถิ่น

แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกภาษาไทย 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกภาษาอังกฤษ 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกคณิตศาสตร์ 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์ แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกชีววิทยา 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกฟิสิกส์        
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกสุขศึกษา 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกนาฏศิลป์  
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกดนตรี แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอก ดนตรีไทย  แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกดนตรีสากล  แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกดุริยางคศิลป์ 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกศิลปศึกษา  
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกศิลปศึกษา(ทัศนศิลป์)
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกคอมพิวเตอร์ 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกอุตสาหกรรมศิลป์ 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกเกษตร         
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกคหกรรม 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกบรรณารักษ์ 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกการเงิน/บัญชี 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกโสตทัศนศึกษา 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกเทคโนโลยีทางการศึกษา 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกจิตวิทยาและการแนะแนว 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกประถมศึกษา/การประถมศึกษา    
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกปฐมวัยศึกษา/อนุบาล    
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกการศึกษาพิเศษ 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกกายภาพบำบัด 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกกิจกรรมบำบัด 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกเคมี        
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกสังคมศึกษา 


สำหรับตำแหน่งที่ไม่ได้ลงประกาศไว้มีจัดจำหน่ายตามหลักสูตรการสอบ 

สนใจติดต่อสอบถามหรือสั่งซื้อมาที่ LINE ID : muktit  โทร 080 450 5746

****1. ไฟล์ PDF ส่งทางอีเมลล์      
ราคา  399 บาท จัดส่งทุกวันถึงเที่ยงคืน ****
****2. สั่งปรินท์ เป็นหนังสือ+MP3   ราคา  899 บาท (ส่ง EMS ทางไปรษณีย์)***

@@@จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบ update ใหม่ล่าสุดของตำแหน่งที่กำลังเปิดสอบ@@@ 

รายละเอียดภายในไฟล์ประกอบด้วย :
- แนวข้อสอบทุกวิชาที่ใช้สอบของแต่ละหน่วยงาน
- รวมข้อสอบเก่าเด็ดๆ และข้อสอบที่ออกบ่อยมาก พร้อมเฉลย
- รวบรวมจากหนังสือมากกว่าสิบเล่ม และรุ่นพี่ที่สอบจากสนามจริง
- รายละเอียดเอกสารแนวข้อสอบ จดลิขสิทธิ์ถูกต้อง  


******แนวข้อสอบความเหมาะสมกับตำแหน่ง เลือกตามตำแหน่งที่สอบ*******

         สนใจสอบถาม/ติดต่อสั่งซื้อ : 
โทร       :  080 450 5746
Line ID  : muktit
E-mail    : vijjadh@gmail.com 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
และที่แก้ไขเพิ่มเติม
1. พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540  ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อใด
ก.  
31 มกราคม  2540                                              ข.  31 มีนาคม  2540
ค.  31  พฤษภา  2540                                              ง.  31 ตุลาคม  2540
ตอบ  ข้อ  ง. พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540  ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ 31 ตุลาคม  2540
2. พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540  ให้ใช้บังคับเมื่อใด
ก.  ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข.  ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ค.  ตั้งแต่  
90 วันนับถัดจากวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง.  ตั้งแต่ 
180    วันนับถัดจากวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาตอบ  ข.  ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
            
มาตรา  2  พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
3. พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ.2540  ให้ยกเลิกกฎหมายใด
ก.  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 
2498
ข.  ประกาศของคณะปฏิวัติ  ฉบับที่  93  ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์  พ.ศ. 2515
ค.  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด  (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2523
ง.  ถูกทุกข้อตอบ  ง.  ถูกทุกข้อ
         มาตรา  3   ให้ยกเลิก1)   พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ.2498
2)  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 2)  พ.ศ. 2499
3)  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 3)  พ.ศ. 2499
4)  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 4)  พ.ศ. 2506
5)  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 5)  พ.ศ. 2509
6)  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 6)  พ.ศ. 2510
7)  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 7)  พ.ศ. 2511
8)  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 8)  พ.ศ. 2511
9)  ประกาศคณะปฎิวัติ  ฉบับที่  93  ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์  พ.ศ. 2515
10)  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 9)  พ.ศ. 2521
11)  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 10)  พ.ศ. 2523
4. คำว่า ราชการส่วนท้องถิ่นอื่น  ตามความหมายในพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540  หมายความว่า
ก.  เทศบาล  สุขาภิบาล
ข.  องค์การบริหารส่วนตำบล  เมืองพัทยา  กรุงเทพมหานคร
ค.  ราชการส่วนท้องตำบล  เมืองพัทยา  กรุงเทพมหานคร
ง.  ถูกทุกข้อ

ตอบ  ง.  ถูกทุกข้อ
           “ราชการส่วนท้องถิ่นอื่น หมายความว่า  เทศบาล  สุขาภิบาลองค์การบริหารส่วนตำบล  เมืองพัทยา  กรุงเทพมหานคร และราชการส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้น  นอกจากองค์การบริหารส่วนจังหวัด
5. บุคคลใดรักษาการแทนตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
ก.  รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย
ข.  ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ค.  นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ง.  ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ  ก.  รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย
         มาตรา  6  ให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้แล้วให้มีอำนาจออกกฎกระทรวง  ประกาศ  และระเบียบเพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
6. ผู้รักษาการแทนตามพระราชบัญญัติบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540  มีอำนาจออกกฎหมายฉบับใด
ก.  กฎกระทรวง                                                       ข.  ประกาศ
ค.  ระเบียบ                                                                ง.  ถูกทุกข้อ
ตอบ  ง.  ถูกทุกข้อ
                 กฎกระทรวง  ประกาศ  และระเบียบนั้น  เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
7. ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งสภาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  จะต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามข้อใดต่อไปนี้
ก.  จะต้องไม่เป็นผู้ที่พ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น
ข.  จะต้องไม่เป็นผู้ที่พ้นจากตำแหน่งคณะผู้บริหารท้องถิ่น
ค.  จะต้องไม่เป็นผู้ที่พ้นจากตำแหน่ง  เลขานุการหรือที่ปรึกษาผู้บริหารท้องถิ่น
ง.  ถูกทุกข้อ
ตอบ  ง.  ถูกทุกข้อ
                
มาตรา  9  สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดประกอบด้วยสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
               ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดจะต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้อมห้ามตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น  คณะผู้บริหารท้องถิ่นแล้ว  จะต้องไม่เป็นผู้ที่พ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น  คณะผู้บริหารท้องถิ่น  รองผู้บริหารท้องถิ่น  เลขานุการหรือที่ปรึกษาท้องถิ่น  เพราะเหตุมีส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระทำกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่ถึงห้าปีนับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
8. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง  เกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ก.  จังหวัดใดมีราษฎร ไม่เกิน  500,000 คน  ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้  24 คน
ข.  จังหวัดใดมีราษฎร เกิน 
500,000 แต่ไม่เกิน  1,000,000  คน  ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้  30 คน
ค.  จังหวัดใดมีราษฎรเกิน 
1,000,000 คน  แต่ไม่เกิน 1,500,000 คน  ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้  36  คน
ง.  ถูกทุกข้อ
ตอบ  ง.  ถูกทุกข้อ
             การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  ให้ถือเกณฑ์จำนวน
ราษฎรแต่ละจังหวัดตามหลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ประกาศในปีสุดท้ายก่อนปีที่มีการเลือกตั้ง  จังหวัดใดมีราษฎรไม่เกินห้าแสนคน  ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้ ยี่สิบสี่คน จังหวัดใดมีราษฎร เกินห้าแสนคน แต่ไม่เกินหนึ่งล้านคน  ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้สามสิบคน จังหวัดใดมีราษฎรเกิน
หนึ่งล้านคน  แต่ไม่เกินหนึ่งล้าน
ห้าแสนคน  ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้สามสิบหกคน  จังหวัดใดมีราษฎรเกินหนึ่งล้านห้าแสนคน  แต่ไม่เกินสองล้านคน  ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้สี่สิบสองคน  จังหวัดใดมีราษฎรเกินสองล้านคนขึ้นไป  ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้สี่สิบแปดคน


9. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีกำหนดคราวละกี่ปีนับจากวันเลือกตั้ง
ก. 
2                                                                             ข.  3
ค.  4                                                                            ง.  5
ตอบ  ค.  4
           
มาตรา  10  อายุของสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีกำหนดคราวละสี่ปีนับแต่วันเลือกตั้ง
10. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่การสิ้นสุดสมาชิกภาพของสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ก.  ขาดประชุมสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดติดต่อกันโดยไม่มีสาเหตุ
ข.  ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อผู้ว่าราชการจังหวัด
ค.  ราษฎรมีสิทธิเลือกในเขตองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีจำนวนไม่น้อยกว่า  
ใน ของจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่มาลงคะแนนเสียงลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอน
ง.  ไม่มีข้อใดถูกต้อง
              
มาตรา  11   สมาชิกภาพของสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดย่อมสิ้นสุดลง  เมื่อ            1)  ถึงคราวออกตามอายุของสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือมีการยุบสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
            
2)  ตาย
            
3)  ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
            
4)  ขาดประชุมสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสามครั้งติดต่อกันโดยไม่มีเหตุอันสมควร
          
 5)  เป็นผู้มีส่วนได้เสียว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดนั้นเป็นคู่สัญญาหรือในกิจการที่กระทำให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัดนั้น  หรือที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดนั้นกระทำ
          
6)   ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา  9  วรรคสอง
          
7)   สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีมติให้พ้นจากตำแหน่ง  โดยเห็นว่ามีความประพฤติในทางที่จะนำมาซึ่งความเสื่อมเสียประโยชน์ของสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  โดยมีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งหมดเท่าที่มีอยู่เข้าเสนอให้สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจารณา  และมติดังกล่าวต้องคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเท่าที่มีอยู่  ทั้งนี้ให้สมาชิกสภาพสิ้นสุดนับแต่วันที่สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีมติ
           
8)  ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีจำนวนไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่มาลงคะแนนเสียง  เห็นว่าสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดใดไม่สมควรดำรงตำแหน่งต่อไปตามกฎหมายว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
11. ข้อใดต่อไปนี้เป็นการปฏิญาณตนของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ก่อนเข้ารับหน้าที่
ก.  จะรักษาไว้และปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ข.  จะซื่อสัตย์สุจริต
ค.  ปฏิบัติหน้าที่เพื่อประโยชน์ของประชาชน
ง.  ถูกทุกข้อ
ตอบ  ง.  ถูกทุกข้อ
            
มาตรา  12  ก่อนเข้ารับหน้าที่ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดต้องปฏิญาณตนในที่ประชุมสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดว่า  จะรักษาไว้และปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  จะซื่อสัตย์สุจริต  และปฏิบัติหน้าที่เพื่อประโยชน์ของประชาชน
12. ให้สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเลือกสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหนึ่งคนและให้มีรองประธานจำนวนกี่คน
ก.  
1  คน                                                                    ข.  2  คน
ค.  
3  คน                                                                    ง.  4  คนตอบ  ข.  2  คน
            
มาตรา  17  ให้สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเลือกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดคนหนึ่งและรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสองคน        
13. นอกจากประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดและรองประธานจะพ้นจากตำแหน่ง  เมื่อครบอายุของสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  ข้อใดต่อไปนี้เป็นเหตุที่ทำให้ประธานและรองประธานสมาชิกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพ้นจากตำแหน่ง
ก.  ลาออก  โดยยื่นหนังสือลาออกต่อผู้ว่าราชการจังหวัด
ข.  สิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิกสภาองค์องค์การบริหารส่วนจังหวัด
ค.  สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีมติให้พ้นจากตำแหน่งโดยเห็นว่ามีความประพฤติในทางที่จะนำมาซึ่งความเสื่อมเสีย
ง.  ถูกทุกข้อ
ตอบ  ง.  ถูกทุกข้อ
             
มาตรา  18  ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดและรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
             นอกจากการพ้นตำแหน่งตามวรรคหนึ่ง  ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  และรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดพ้นจากตำแหน่งเมื่อ
           
1)  ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกต่อผู้ว่าราชการจังหวัด
           
2)  สิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิกสภาองค์องค์การบริหารส่วนจังหวัด
         
3)   รัฐมนตรีสั่งให้พ้นจากตำแหน่งตามมาตรา  79
        4)  สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีมติให้พ้นจากตำแหน่ง  โดยเห็นว่ามีความประพฤติในทางที่จะนำมาซึ่งความเสียหรือก่อความไม่สงบเรียบร้อยแก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด  โดยมีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดจำนวนไม่น้อยกว่า หนึ่งในสามของจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งหมดเท่าที่มีอยู่เข้าชื่อเสนอให้สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจารณา  และมติดังกล่าวต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งหมดเท่าที่มีอยู่  ทั้งนี้ให้พ้นจากตำแหน่งนับแต่วันที่สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีมติ
               ในกรณีตามวรรคสอง  ให้ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดที่ได้รับเลือกใหม่อยู่ในตำแหน่งตามวาระของผึ่งตนแทน
               ผู้ซึ่งรัฐมนตรีสั่งให้พ้นจากตำแหน่งตาม  
(3)  จะดำรงตำแหน่งประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดอีกไม่ได้ตลอดอายุของสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
14. ในกรณีที่ตำแหน่งประธานหรือรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดส่วนจังหวัดว่างลง เพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามอายุหรือมีการยุบสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  ให้มีการเลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่างภายในกำหนดกี่วัน
ก.  
15  วัน                                                                  ข.  30  วัน
ค.  
45  วัน                                                                  ง.  50  วันตอบ  ก.  15  วัน
              
มาตรา  19  เมื่อตำแหน่งประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือรองประธานสภาสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามอายุของสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือมีการยุบสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดให้มีการเลือกประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  แล้วแต่กรณี  แทนตำแหน่งที่ว่างภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ตำแหน่งนั้นว่างลง
ในกรณีที่ประธานและรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งสองคนไม่อยู่ในที่ประชุมให้สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดอย่างไร
ก.  เลือกการประชุม
ข.  เลือกกันขึ้นเองเป็นประธานในที่ประชุมสำหรับการประชุมคราวนั้น
ค.  ให้สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  คนที่มีอาวุโสที่สุดดำรงตำแหน่งประธานทำหน้าที่แทน
ง.  ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ   ข.  เลือกกันขึ้นเองเป็นประธานในที่ประชุมสำหรับการประชุมคราวนั้น


1. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เป็นไปตามบทบัญญัติใน รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 มาตราใด

ก. 29
ข. 40
ค. 50
ง. 81

2. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติจัดเป็น
ก. กฎหมายแม่บทการจัดการศึกษา
ข. แนวทางจัดการศึกษาของรัฐ
ค. การปรับปรุงการศึกษาสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ
ง. การปฏิรูปการศึกษาครั้งใหญ่ของไทย

3. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ฉบับแรก มีผลบังคับใช้ตั้งแต่เมื่อใด
ก. 19 สิงหาคม 2542
ข. 20 สิงหาคม 2542
ค. 19 ธันวาคม 2545
ง. 20 ธันวาคม 2545

4. วัตถุประสงค์ของการจัดทำ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
ก. ปรับปรุงการศึกษาให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม
ข. ปฏิรูปการศึกษาของไทย
ค. พัฒนาคนไทยเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายจิตใจ
ง. พัฒนาศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

5. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ สอดคล้องกับข้อใดมากที่สุด
ก. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมแห่งชาติ
ข. แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ
ค. แผนการศึกษาแห่งชาติ
ง. แผนพัฒนาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมของกระทรวงศึกษาธิการ

6. ต่อไปนี้ ข้อใดไม่สอดคล้องคำว่าการศึกษา
ก. การถ่ายทอดความรู้
ข. การฝึกอบรม
ค. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ง. การสืบสานทางวัฒนธรรม

7. ข้อใดให้ความหมายไม่ตรงกับ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
ก. การศึกษาขั้นพื้นฐาน คือการศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา
ข. สถานศึกษา คือสถานที่จัดการสอนตั้งแต่ก่อนประถม ถึงระดับก่อนอุดมศึกษา
ค. มาตรฐานการศึกษา เป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ และ
มาตรฐานที่ต้องการให้เกิดในสถานศึกษาทุกแห่ง
ง. กระทรวง หมายความว่ากระทรวงศึกษาธิการ

8. ตำแหน่งข้าราชการครูตามข้อใดที่สังกัดต่างหน่วยงาน
ก. ครู
ข. คณาจารย์
ค. ผู้บริหารสถานศึกษา
ง. ผู้บริหารการศึกษา

9. ความมุ่งหมายของการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
ก. ปรับปรุงการศึกษาให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม
ข. ปฏิรูปการศึกษาของไทย
ค. พัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายจิตใจ
ง. พัฒนาศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

10. ข้อใดไม่ใช่หลักการพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ก. เป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อปวงชน
ข. เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
ค. ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ง. พัฒนา และกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง

11. ข้อใดไม่สอดคล้องกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามความมุ่งหมายของ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
ก. ปลูกฝังจิตสำนึกการเมือง การปกครองระบอบประชาธิปไตยมีพระมหากษัตริย์
เป็นประมุข
ข. รักษา และส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพเคารพกฎหมาย
ค. รู้จักรักษาผลประโยชน์ ส่วนรวมของประเทศชาติ
ง. กระจายการพัฒนาไปสู่ชนบทโดยการมีส่วนร่วมของภูมิปัญญาท้องถิ่น

12. ข้อใดไม่สอดคล้องการจัดระบบโครงสร้างและกระบวนการการจัดการศึกษา
ก. กระจายอำนาจสู่สถานศึกษาทั้งหมด
ข. กำหนดมาตรฐานการศึกษา จัดระบบประกันคุณภาพ
ค. มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครูคณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ง. ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา

13. คำว่า “เอกภาพด้านนโยบาย หลากหลายในการปฏิบัติ” สอดคล้องกับข้อใด
ก. ส่วนกลางกำหนดนโยบาย ส่วนภูมิภาคกำหนดแนวทางปฏิบัติ
ข. กระทรวงกำหนดนโยบายมาตรฐานสนับสนุนเขตพื้นที่และสถานศึกษาบริหาร
จัดการด้วยตนเอง
ค. มีนโยบายเดียวกัน การปฏิบัติหลากหลายวิธี
ง. ถูกทุกข้อ

14. ต่อไปนี้นี้ ข้อใดไม่กล่าวถึงสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. บุคคล
ข. เอกชน
ค. องค์กรปกครองท้องถิ่น
ง. ครู อาจารย์

15. ข้อใดไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ บิดามารดา ผู้ปกครอง พึงได้รับในการจัดการศึกษา
ก. การสนับสนุนจากรัฐ ให้ความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู
ข. การยกเว้นเงินภาษีสำหรับค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา
ค. เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของคนในการดูแล
ง. การให้การศึกษาแก่บุตรหรือบุคคลในการดูแล

16. จุดที่ต่างกันของการศึกษาในระบบ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่สำคัญคือข้อใด
ก. ระยะเวลาที่จัดการศึกษา
ข. สถานที่จัดการศึกษา
ค. ตัวผู้เข้ารับการศึกษา
ง. จุดหมาย วิธีการ หลักสูตร

17. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการศึกษาตามอัธยาศัย
ก. สถานศึกษา ต้องจัดการศึกษา ทั้งในระบบนอกระบบ และตามอัธยาศัย
ข. ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส
ค. จัดการเรียนรู้ได้ในทุกที่ ทุกเวลา
ง. ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมเป็นแหล่งเรียนรู้ได้

18. ต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่ สถานศึกษาสำหรับปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. โรงเรียน
ข. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ค. ศูนย์พัฒนาชุมชน
ง. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ สถาบันศาสนา

19. ข้อใดไม่ถูกต้องในด้านการกระจายอำนาจให้เขตพื้นที่และสถานศึกษา
ก. ด้านวิชาการ
ข. งบประมาณ
ค. หลักสูตรการสอน
ง. การบริหารทั่วไป

20. ต่อไปนี้ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. ผู้แทนครู
ข. ผู้แทนองค์กรเอกชน
ค. ผู้แทนศิษย์เก่า
ง. ผู้แทนคุณวุฒิ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น