วันจันทร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2559

เทคนิคพิชิตข้อสอบ ภาค ก ท้องถิ่น (ใช้สอบ อบต. เทศบาล อบจ. ทุกแห่ง ทั่วประเทศ) ครอบคลุม ครบถ้วนทั้งเนื้อหาและแนวข้อสอบ โดยทีมวิชาการมืออาชีพ ประสบการณ์มากกว่า 10 ปี

รวมแนวข้อสอบ พร้อมเฉลยจากสนามสอบจริงในการสอบท้องถิ่นทั่วประเทศ 
สรุปเนื้อหา สาระสำคัญ โดยทีมวิชาการมืออาชีพ ประสบการณ์มากกว่า 10 ปี
ในกรณีที่ประธานและรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งสองคนไม่อยู่ในที่ประชุมให้สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดอย่างไร
ก.  เลือกการประชุม
ข.  เลือกกันขึ้นเองเป็นประธานในที่ประชุมสำหรับการประชุมคราวนั้น
ค.  ให้สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  คนที่มีอาวุโสที่สุดดำรงตำแหน่งประธานทำหน้าที่แทน
ง.  ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ   ข.  เลือกกันขึ้นเองเป็นประธานในที่ประชุมสำหรับการประชุมคราวนั้น

ไฟล์ PDF แนวข้อสอบ ภาค ก ท้องถิ่น ใช้สอบ อบต. เทศบาล อบจ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น อัพเดทตามหลักสูตรการสอบทุกปี
1 ความสามารถพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
2 ความสามารถทางด้านเหตุผล
3 ความสามารถด้านภาษาไทย
4 แนวข้อสอบรวมกฏหมายท้องถิ่น
5 แนวข้อสอบ พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจท้องถิ่น พ.ศ.2542
6 แนวข้อสอบ พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารสภาตำบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
7 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติม
8 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542
9 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ.2540 และแก้ไขเพิ่ม
10 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ.2540 และแก้ไขเพิ่มเติม
11 แนวข้อสอบความรู้เหตุการณ์ปัจจุบัน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม

****1. ไฟล์ PDF ส่งทางอีเมลล์      
             ภาค ก ราคา  399 บาท จัดส่งทุกวันถึงเที่ยงคืน ****
             ภาค ข (เลือกตำแหน่งที่สอบ) ราคา  399 บาท จัดส่งทุกวันถึงเที่ยงคืน ****
****2. สั่งปรินท์ เป็นหนังสือแถม + MP3 ราคา  899 บาท (ส่ง EMS ทางไปรษณีย์)***
****3. ชุด DVD ติวสอบ  ราคา  2,500 บาท (ส่ง EMS ทางไปรษณีย์)***

สำหรับตำแหน่งที่ไม่ได้ลงประกาศไว้มีจัดจำหน่ายตามหลักสูตรการสอบ 
ติดต่อสอบถาม/สนใจสั่งซื้อแนวข้อสอบหน่วยงาน/ตำแหน่งต่างๆ
สนใจติดต่อสอบถามหรือสั่งซื้อมาที่ LINE ID : muktit  โทร 080 450 5746

@@@จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบ update ใหม่ล่าสุดของตำแหน่งที่กำลังเปิดสอบ@@@ 

รายละเอียดภายในไฟล์ประกอบด้วย :
- แนวข้อสอบทุกวิชาที่ใช้สอบของแต่ละหน่วยงาน
- รวมข้อสอบเก่าเด็ดๆ และข้อสอบที่ออกบ่อยมาก พร้อมเฉลย
- รวบรวมจากหนังสือมากกว่าสิบเล่ม และรุ่นพี่ที่สอบจากสนามจริง
- รายละเอียดเอกสารแนวข้อสอบ จดลิขสิทธิ์ถูกต้อง  

******แนวข้อสอบความเหมาะสมกับตำแหน่ง เลือกตามตำแหน่งที่สอบ*******

         สนใจสอบถาม/ติดต่อสั่งซื้อ : 
โทร       :  080 450 5746
Line ID  : muktit



แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
และที่แก้ไขเพิ่มเติม
1. พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540  ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อใด
ก.  
31 มกราคม  2540                                              ข.  31 มีนาคม  2540
ค.  31  พฤษภา  2540                                              ง.  31 ตุลาคม  2540
ตอบ  ข้อ  ง. พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540  ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ 31 ตุลาคม  2540
2. พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540  ให้ใช้บังคับเมื่อใด
ก.  ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข.  ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ค.  ตั้งแต่  
90 วันนับถัดจากวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง.  ตั้งแต่ 
180    วันนับถัดจากวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาตอบ  ข.  ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
            
มาตรา  2  พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
3. พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ.2540  ให้ยกเลิกกฎหมายใด
ก.  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 
2498
ข.  ประกาศของคณะปฏิวัติ  ฉบับที่  93  ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์  พ.ศ. 2515
ค.  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด  (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2523
ง.  ถูกทุกข้อตอบ  ง.  ถูกทุกข้อ
         มาตรา  3   ให้ยกเลิก1)   พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ.2498
2)  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 2)  พ.ศ. 2499
3)  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 3)  พ.ศ. 2499
4)  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 4)  พ.ศ. 2506
5)  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 5)  พ.ศ. 2509
6)  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 6)  พ.ศ. 2510
7)  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 7)  พ.ศ. 2511
8)  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 8)  พ.ศ. 2511
9)  ประกาศคณะปฎิวัติ  ฉบับที่  93  ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์  พ.ศ. 2515
10)  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 9)  พ.ศ. 2521
11)  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 10)  พ.ศ. 2523
4. คำว่า ราชการส่วนท้องถิ่นอื่น  ตามความหมายในพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540  หมายความว่า
ก.  เทศบาล  สุขาภิบาล
ข.  องค์การบริหารส่วนตำบล  เมืองพัทยา  กรุงเทพมหานคร
ค.  ราชการส่วนท้องตำบล  เมืองพัทยา  กรุงเทพมหานคร
ง.  ถูกทุกข้อ

ตอบ  ง.  ถูกทุกข้อ
           “ราชการส่วนท้องถิ่นอื่น หมายความว่า  เทศบาล  สุขาภิบาลองค์การบริหารส่วนตำบล  เมืองพัทยา  กรุงเทพมหานคร และราชการส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้น  นอกจากองค์การบริหารส่วนจังหวัด
5. บุคคลใดรักษาการแทนตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
ก.  รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย
ข.  ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ค.  นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ง.  ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ  ก.  รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย
         มาตรา  6  ให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้แล้วให้มีอำนาจออกกฎกระทรวง  ประกาศ  และระเบียบเพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
6. ผู้รักษาการแทนตามพระราชบัญญัติบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540  มีอำนาจออกกฎหมายฉบับใด
ก.  กฎกระทรวง                                                       ข.  ประกาศ
ค.  ระเบียบ                                                                ง.  ถูกทุกข้อ
ตอบ  ง.  ถูกทุกข้อ
                 กฎกระทรวง  ประกาศ  และระเบียบนั้น  เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
7. ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งสภาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  จะต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามข้อใดต่อไปนี้
ก.  จะต้องไม่เป็นผู้ที่พ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น
ข.  จะต้องไม่เป็นผู้ที่พ้นจากตำแหน่งคณะผู้บริหารท้องถิ่น
ค.  จะต้องไม่เป็นผู้ที่พ้นจากตำแหน่ง  เลขานุการหรือที่ปรึกษาผู้บริหารท้องถิ่น
ง.  ถูกทุกข้อ
ตอบ  ง.  ถูกทุกข้อ
                
มาตรา  9  สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดประกอบด้วยสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
               ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดจะต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้อมห้ามตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น  คณะผู้บริหารท้องถิ่นแล้ว  จะต้องไม่เป็นผู้ที่พ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น  คณะผู้บริหารท้องถิ่น  รองผู้บริหารท้องถิ่น  เลขานุการหรือที่ปรึกษาท้องถิ่น  เพราะเหตุมีส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระทำกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่ถึงห้าปีนับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
8. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง  เกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ก.  จังหวัดใดมีราษฎร ไม่เกิน  500,000 คน  ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้  24 คน
ข.  จังหวัดใดมีราษฎร เกิน 
500,000 แต่ไม่เกิน  1,000,000  คน  ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้  30 คน
ค.  จังหวัดใดมีราษฎรเกิน 
1,000,000 คน  แต่ไม่เกิน 1,500,000 คน  ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้  36  คน
ง.  ถูกทุกข้อ
ตอบ  ง.  ถูกทุกข้อ
             การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  ให้ถือเกณฑ์จำนวน
ราษฎรแต่ละจังหวัดตามหลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ประกาศในปีสุดท้ายก่อนปีที่มีการเลือกตั้ง  จังหวัดใดมีราษฎรไม่เกินห้าแสนคน  ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้ ยี่สิบสี่คน จังหวัดใดมีราษฎร เกินห้าแสนคน แต่ไม่เกินหนึ่งล้านคน  ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้สามสิบคน จังหวัดใดมีราษฎรเกิน
หนึ่งล้านคน  แต่ไม่เกินหนึ่งล้าน
ห้าแสนคน  ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้สามสิบหกคน  จังหวัดใดมีราษฎรเกินหนึ่งล้านห้าแสนคน  แต่ไม่เกินสองล้านคน  ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้สี่สิบสองคน  จังหวัดใดมีราษฎรเกินสองล้านคนขึ้นไป  ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้สี่สิบแปดคน


9. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีกำหนดคราวละกี่ปีนับจากวันเลือกตั้ง
ก. 
2                                                                             ข.  3
ค.  4                                                                            ง.  5
ตอบ  ค.  4
           
มาตรา  10  อายุของสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีกำหนดคราวละสี่ปีนับแต่วันเลือกตั้ง
10. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่การสิ้นสุดสมาชิกภาพของสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ก.  ขาดประชุมสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดติดต่อกันโดยไม่มีสาเหตุ
ข.  ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อผู้ว่าราชการจังหวัด
ค.  ราษฎรมีสิทธิเลือกในเขตองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีจำนวนไม่น้อยกว่า  
ใน ของจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่มาลงคะแนนเสียงลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอน
ง.  ไม่มีข้อใดถูกต้อง
              
มาตรา  11   สมาชิกภาพของสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดย่อมสิ้นสุดลง  เมื่อ            1)  ถึงคราวออกตามอายุของสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือมีการยุบสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
            
2)  ตาย
            
3)  ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
            
4)  ขาดประชุมสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสามครั้งติดต่อกันโดยไม่มีเหตุอันสมควร
          
 5)  เป็นผู้มีส่วนได้เสียว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดนั้นเป็นคู่สัญญาหรือในกิจการที่กระทำให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัดนั้น  หรือที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดนั้นกระทำ
          
6)   ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา  9  วรรคสอง
          
7)   สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีมติให้พ้นจากตำแหน่ง  โดยเห็นว่ามีความประพฤติในทางที่จะนำมาซึ่งความเสื่อมเสียประโยชน์ของสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  โดยมีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งหมดเท่าที่มีอยู่เข้าเสนอให้สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจารณา  และมติดังกล่าวต้องคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเท่าที่มีอยู่  ทั้งนี้ให้สมาชิกสภาพสิ้นสุดนับแต่วันที่สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีมติ
           
8)  ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีจำนวนไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่มาลงคะแนนเสียง  เห็นว่าสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดใดไม่สมควรดำรงตำแหน่งต่อไปตามกฎหมายว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
11. ข้อใดต่อไปนี้เป็นการปฏิญาณตนของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ก่อนเข้ารับหน้าที่
ก.  จะรักษาไว้และปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ข.  จะซื่อสัตย์สุจริต
ค.  ปฏิบัติหน้าที่เพื่อประโยชน์ของประชาชน
ง.  ถูกทุกข้อ
ตอบ  ง.  ถูกทุกข้อ
            
มาตรา  12  ก่อนเข้ารับหน้าที่ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดต้องปฏิญาณตนในที่ประชุมสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดว่า  จะรักษาไว้และปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  จะซื่อสัตย์สุจริต  และปฏิบัติหน้าที่เพื่อประโยชน์ของประชาชน
12. ให้สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเลือกสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหนึ่งคนและให้มีรองประธานจำนวนกี่คน
ก.  
1  คน                                                                    ข.  2  คน
ค.  
3  คน                                                                    ง.  4  คนตอบ  ข.  2  คน
            
มาตรา  17  ให้สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเลือกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดคนหนึ่งและรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสองคน        
13. นอกจากประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดและรองประธานจะพ้นจากตำแหน่ง  เมื่อครบอายุของสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  ข้อใดต่อไปนี้เป็นเหตุที่ทำให้ประธานและรองประธานสมาชิกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพ้นจากตำแหน่ง
ก.  ลาออก  โดยยื่นหนังสือลาออกต่อผู้ว่าราชการจังหวัด
ข.  สิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิกสภาองค์องค์การบริหารส่วนจังหวัด
ค.  สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีมติให้พ้นจากตำแหน่งโดยเห็นว่ามีความประพฤติในทางที่จะนำมาซึ่งความเสื่อมเสีย
ง.  ถูกทุกข้อ
ตอบ  ง.  ถูกทุกข้อ
             
มาตรา  18  ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดและรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
             นอกจากการพ้นตำแหน่งตามวรรคหนึ่ง  ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  และรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดพ้นจากตำแหน่งเมื่อ
           
1)  ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกต่อผู้ว่าราชการจังหวัด
           
2)  สิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิกสภาองค์องค์การบริหารส่วนจังหวัด
         
3)   รัฐมนตรีสั่งให้พ้นจากตำแหน่งตามมาตรา  79
        4)  สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีมติให้พ้นจากตำแหน่ง  โดยเห็นว่ามีความประพฤติในทางที่จะนำมาซึ่งความเสียหรือก่อความไม่สงบเรียบร้อยแก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด  โดยมีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดจำนวนไม่น้อยกว่า หนึ่งในสามของจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งหมดเท่าที่มีอยู่เข้าชื่อเสนอให้สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจารณา  และมติดังกล่าวต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งหมดเท่าที่มีอยู่  ทั้งนี้ให้พ้นจากตำแหน่งนับแต่วันที่สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีมติ
               ในกรณีตามวรรคสอง  ให้ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดที่ได้รับเลือกใหม่อยู่ในตำแหน่งตามวาระของผึ่งตนแทน
               ผู้ซึ่งรัฐมนตรีสั่งให้พ้นจากตำแหน่งตาม  
(3)  จะดำรงตำแหน่งประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดอีกไม่ได้ตลอดอายุของสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
14. ในกรณีที่ตำแหน่งประธานหรือรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดส่วนจังหวัดว่างลง เพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามอายุหรือมีการยุบสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  ให้มีการเลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่างภายในกำหนดกี่วัน
ก.  
15  วัน                                                                  ข.  30  วัน
ค.  
45  วัน                                                                  ง.  50  วันตอบ  ก.  15  วัน
              
มาตรา  19  เมื่อตำแหน่งประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือรองประธานสภาสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามอายุของสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือมีการยุบสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดให้มีการเลือกประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  แล้วแต่กรณี  แทนตำแหน่งที่ว่างภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ตำแหน่งนั้นว่างลง
ในกรณีที่ประธานและรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งสองคนไม่อยู่ในที่ประชุมให้สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดอย่างไร
ก.  เลือกการประชุม
ข.  เลือกกันขึ้นเองเป็นประธานในที่ประชุมสำหรับการประชุมคราวนั้น
ค.  ให้สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  คนที่มีอาวุโสที่สุดดำรงตำแหน่งประธานทำหน้าที่แทน
ง.  ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ   ข.  เลือกกันขึ้นเองเป็นประธานในที่ประชุมสำหรับการประชุมคราวนั้น



แนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน อบต. เทศบาล อบจ. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
หมายเหตุคำเฉลยจะเฉลยตามคำตอบที่อยู่ในข้อสอบซึ่งอาจจะเป็นคำตอบที่ไม่เป็นปัจจุบัน
ซึ่งคำเฉลยอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยทางฝ่ายวิชาการของเราจึงหามาเพื่อแด่ท่านเพื่อใช้เป็น
แนวทางในการเตรียมสอบ อบต. ในครั้งนี้ (ลองไปเฉลยดูใหม่นะคะ)รัฐบาลได้ใช้นโยบายใดในการบริหารประเทศ ที่มีผลกระทบต่อการนำเข้าสินค้าออกและสินค้าเข้า?
? นโยบายการค้าเสรี
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใด ไม่ใช้องค์กรฯตามระเบียบว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
? กรุงเทพมหานครฯ
แผนใดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่จะต้องจัดทำโดยกำหนดยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาแสดงถึง
วิสัยทัศน์ จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาในอนาคตโดยสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ?
? แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
แผนที่เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนา โดยกำหนดรายละเอียด แผนงานโครงการพัฒนาที่จัดทำขึ้น สำหรับปีงบประมาณในแต่ละปี มีความต่อเนื่องและเป็นแผนก้าวหน้า คือแผนใด
? แผนพัฒนาสามปี
ผู้ใดเป็นประธานคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นในระดับจังหวัด?
? นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละกี่ปี
- 2 ปี
หากสภาท้องถิ่นไม่อนุมัติแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ให้ชี้แจ้งเหตุผลให้ผู้บริหารท้องถิ่นทราบ เพื่อเสนอผวจ.
พิจารณาภายในกี่วัน
- 30 วัน
จากข้อความข้างต้นความเห็นของผู้ใดถือเป็นการสิ้นสุด
- ผวจ.
ในพรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 ข้อความในพระราชบัญญัติที่ได้กำหนดเพิ่มเติม
จากพรบ.ฉบับก่อน
- การบริหารราชการต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ของรัฐ ความคุ้มค่า ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ
ในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) มีผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกิน 10 คน ซึ่งครม.แต่งตั้ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนกี่คนต้องทำงานเต็มเวลา
- 3 คน
ในระหว่างที่ไม่มีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และไม่ได้ทรงแต่งตั้งใครไว้ ให้ใครเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ไปพลางก่อน
? ประธานองคมนตรี
บุคคลย่อมเสมอภาคกันในกม.และได้รับความคุ้มครองตามกม. จะเท่าเทียมกันตามกม.รัฐธรรมนูญกำหนดในด้านใด?
? เพศ
บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในสิทธิการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด ให้เด็กอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปี ต้องได้รับ
การศึกษาถึงระดับใด?
? มัธยมศึกษาตอนต้น
องค์กรใดมีหน้าที่ให้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะครม.ในการแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกี่ยวข้องกับปัญหาทางด้าน
เศรษฐกิจและสังคม?
? สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จะสิ้นสุดสภาการเป็นส.ส. กรณีขาดการประชุมในสมัยประชุมจำนวนเท่าไร์
- ขาดการประชุมเกิน 1 ใน 4 ของจำนวนในสมัยประชุมที่มีกำหนดเวลาไม่น้อยกว่า 120 วัน
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.)ประกอบด้วยประธานกรรมการและกรรมการ
รวมแล้วกี่คน
- 9 คน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รูปแบบใด ที่มีระยะเวลาการจัดตั้งยาวนานที่สุดจนถึงปัจจุบัน?
? เทศบาล
ตั้งแต่พ.ศ.2538 จนถึงปีปัจจุบัน มีองค์การบริหารส่วนตำบลได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลจำนวนกี่แห่ง-?
- 4 แห่ง
ทุกระยะเวลากี่ปี ให้คณะกรรมการกระจายอำนาจพิจารณทบทวน การกำหนดอำนาจหน้าที่และการจัดสรรราย
ได้ของท้องถิ่นตามแผนกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 5ปี
อำนาจหน้าที่ใดขององค์การบริหารส่วนจังหวัดที่เทศบาลและอบต.ไม่มีอำนาจที่จะกระทำใด้?
- จัดตั้งรพ.จังหวัด
ในคณะกรรมการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคลต่อไปนี้ ที่ไม่ใช้คณะกรรมการฯ?
- เลขาก.พ.ร.
ในคณะกรรมการกลางข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด (ก.อบจ.) ใครเป็นเลขานุการ?
? รองอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
ในคณะกรรมการองค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดฯมีผู้แทนอบต.จำนวนกี่คน?
- 9 คน
ผู้ใดดำรงตำแหน่งเป็นประธานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น (กถ.)?
- บุคคลซึ่งได้รับการคัดเลือกตามมาตรา 31 แห่งพรบ.บริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542
ในช่วงต้นปี 2547 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้เคยให้สัมภาษณ์สื่อมวลชนว่า การดำเนินนโยบายใดของรัฐบาล ที่ยอมรับว่าเป็นการดำเนินนโยบายที่ล้มเหลว?
- ผู้ว่าซีอีโอ.
งบประมาณ หมายถึงอะไร?
? แผนงานหรืองานสำหรับประมาณการด้านรายรับและรายจ่ายในรูปของตัวเลขจำนวนเงิน
กิจกรรมต่างๆของหน่วยงานที่กำหนดไว้ในแต่ละแผนงาน หมายถึงอะไร?
? งาน
ข้อใดไม่ใช่เจ้าหน้าที่งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น?
- หน.สำนักงานปลัดเมืองพัทยา
ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น?
? มีหน้าที่ในการจัดทำเอกสารงบประมาณ
ข้อใดเป็นค่าใช้จ่ายในหมวดรายจ่ายประจำขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น?
? หมวดค่าสาธารณูปโภค
การโอนเงินงบประมาณรายจ่ายต่างๆเป็นอำนาจอนุมัติของผู้ใด
? คณะผู้บริหารท้องถิ่น
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่งสำเนางบประมาณรายจ่ายประจำปีที่ได้รับอนุมัติจากสภาท้องถิ่นแล้วไปยัง
อำเภอหรือผู้ว่าราชการจังหวัดฯภายในกี่วัน
- 15 วัน
พรรคการเมืองที่จดทะเบียนและจัดตั้งเป็นพรรคการเมืองพรรคล่าสุดของประเทศไทย คือพรรคการเมืองใด?
?พรรคต้นตระฉันลไทย
ใครเป็นประธานคณะกรรมการกลางองค์การบริหารส่วนจังหวัด (ก.อบจ.)
-รมต.มท.
คณะกรรมการข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด (ก.อบจ.) มีคณะกรรมการกี่คน?
-12 คน
ข้อใดไม่ใช่รูปแบบขององค์การบริหารราชการส่วนท้องถิ่นในปัจจุบัน?
?สุขาภิบาล
อำนาจหน้าที่ในการจัดให้ประชาชนเจ้าของประเทศลงคะแนนเพื่อออกเสียงแสดงประชามติ เป็นอำนาจหน้าที่
ขององค์กรใด?
-กกต.
ผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร์ในศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อที่จะให้วุฒิสภาทูลเกล้าฯเสนอพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง
นั้น ใครเป็นผู้พิจารณาคัดเลือก
?คณบดีคณะนิติศาสตร์
หลักเกณฑ์ใดใช้เป็นเกณฑ์ในการจัดชั้นอบต.?
?รายได้
การมอบอำนาจชนิดใดต้องทำเป็นหนังสือ
?การรักษาราชการแทนและการปฏิบัติราชการแทน
ผู้ใดเป็นผู้รักษาการตามพรบ.กระจายอำนาจฯ
-นายกรัฐมนตรี,รมต.คลัง,รมต.มหาดไทย
หน่วยงานใด ไม่อยู่ในกระทรวงเดียวกัน
-กรมป่าไม้และกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่า และพันธ์พืช


แนวข้อสอบ  ระเบียบมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541  และที่แก้ไขเพิ่มเติม
 
1. ระเบียบฉบับนี้ให้ยกเลิกระเบียบฉบับใด
ก. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย  ว่าด้วยวิธีงบประมาณขององค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
ข. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย  ว่าด้วยวิธีงบประมาณของเทศบาล พ.ศ. 2528
ค. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย  ว่าด้วยวิธีงบประมาณสุขาภิบาล พ.ศ. 2531
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ        ง.  ถูกทุกข้อ
                                ข้อ 3  ให้ยกเลิก
1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย  ว่าด้วยวิธีงบประมาณขององค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
2. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย  ว่าด้วยวิธีงบประมาณของเทศบาล พ.ศ. 2528
3. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย  ว่าด้วยวิธีงบประมาณของสุขาภิบาล พ.ศ. 2531
4. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย  ว่าด้วยวิธีงบประมาณของเมืองพัทยา พ.ศ. 2531
5. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย  ว่าด้วยวิธีงบประมาณขององค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2538
2. ผู้รักษาการตามระเบียบฉบับนี้คืออะไร
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ค. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ตอบ        ข.  ปลัดกระทรวงมหาดไทย
                                ข้อ 4  ให้ปลัดกระทรวงหมาดไทยรักษาการตามระเบียบนี้  และมีอำนาจตีความวินิจฉัยปัญหา  ยกเว้นการปฏิบัติการตามระเบียบที่กำหนดหลักเกณฑ์  และวิธีปฏิบัติเพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามระเบียบนี้
 ปลัดกระทรวงมหาดไทย  อาจมอบอำนาจเรื่องใดเรื่องหนึ่งตามวรรคแรกให้ผู้ว่าราชการจังหวัดได้
3. คณะผู้บริหารท้องถิ่น หมายความว่า
ก. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ข. คณะเทศมนตรี
ค. ประธานกรรมการสุขาภิบาล
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ        ง.  ถูกทุกข้อ
                                “คณะผู้บริหารท้องถิ่น”  หมายความว่า  นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด  คณะเทศมนตรี  ประธานกรรมการสุขาภิบาล ปลัดเมืองพัทยา  และคณะกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนตำบล
4. เจ้าหน้าที่งบประมาณ หมายความว่า
ก. ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ข. ปลัดเทศบาล , ปลัดสุขาภิบาล
ค. หัวหน้าสำนักปลัดเมืองพัทยา , ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ        ง.  ถูกทุกข้อ
                                “เจ้าหน้าที่งบประมาณ”  หมายความว่า  ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ปลัดเทศบาล  ปลัดสุขาภิบาล  หัวหน้าสำนักปลัดเมืองพัทยา  และปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล
5. ข้อใดต่อไปนี้เป็นอำนาจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่งบประมาณ
ก. เรียกให้หน่วยงานต่าง ๆ เสนองบประมาณรายรับและรายจ่ายตามแบบและหลักเกณฑ์พร้อมด้วยรายละเอียดที่กำหนดตามระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่งหรือหนังสือสั่งการกระทรวงมหาดไทย
ข. วิเคราะห์งบประมาณ และการจ่ายเงินของหน่วยงานต่าง ๆ
ค. สั่งการ ควบคุม กำกับ ดูแล เจ้าหน้าที่จัดทำเอกสาร งบประมาณและรวบรวมเป็นร่างงบประมาณรายจ่ายประจำปี
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ        ง.  ถูกทุกข้อ
                                ข้อ 8  ให้เจ้าหน้าที่งบประมาณมีอำนาจหน้าที่จัดทำงบประมาณกับปฏิบัติการอื่นตามที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้  และให้มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับงานงบประมาณ ดังต่อไปนี้
1. เรียกให้หน่วยงานต่าง ๆ เสนอประมาณการรายรับ และรายจ่ายตามแบบ  และหลักเกณฑ์พร้อมด้วยรายละเอียดที่กำหนดไว้ตามระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่งหรือหนังสือสั่งการกระทรวงมหาดไทย
2. วิเคราะห์งบประมาณและการจ่ายเงินของหน่วยงานต่าง ๆ
3. สั่งการ ควบคุม กำกับ ดูแล เจ้าหน้าที่จัดทำเอกสารงบประมาณ และรวบรวมเป็นร่างงบประมาณรายจ่ายประจำปี
6. องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น  อาจทำงบประมาณรายจ่ายเฉพาะการได้โดยได้รับความเห็นชอบจากหน่วยงานใด
ก. กระทรวงมหาดไทย
ข. กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
ค. สภาท้องถิ่น
ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ        ค.  สภาท้องถิ่น
                                ข้อ 11  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  อาจจัดทำงบประมาณรายจ่ายเฉพาะการได้โดยได้รับความเห็นชอบจากสภาท้องถิ่น
7. เงินงบประมาณประเภทใดที่อาจตั้งจ่ายเงินช่วยเหลือระหว่างกันได้
ก. งบประมาณรายจ่ายทั่วไปกับงบประมาณกลาง
ข. งบประมาณเพิ่มเติมกับงบประมาณเฉพาะการ
ค. งบประมาณเฉพาะการกับงบประมาณรายจ่ายทั่วไป
ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ        ค.  งบประมาณเฉพาะการกับงบประมาณรายจ่ายทั่วไป
                                ข้อ 12   งบประมาณรายจ่ายทั่วไป  และงบประมาณรายจ่ายเฉพาะการ  อาจตั้งจ่ายเงินช่วยเหลือระหว่างกันได้
8. รายจ่ายตามแผนงานจำแนกเป็นสองลักษณะ  ลักษณะที่ 1 เป็นลักษณะรายจ่ายประจำ  อยากทราบว่ารายจ่ายลักษณะที่สองคือรายจ่ายเพื่อการลงทุนประกอบด้วยอะไรบ้าง
ก. หมวดค่าครุภัณฑ์
ข. ค่าที่ดิน
ค. ค่าสิ่งก่อสร้าง
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ        ง.  ถูกทุกข้อ
                                ข้อ 14   รายจ่ายตามแผนงาน  จำแนกเป็นสองลักษณะคือ
1. รายจ่ายประจำ  ประกอบด้วย
ก. หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ
ข. หมวดค่าจ้างชั่วคราว
ค. หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ
ง. หมวดค่าสาธารณูปโภค
จ. หมวดเงินอุดหนุน
ฉ. หมวดรายจ่ายอื่น ๆ
2. รายจ่ายเพื่อการลงทุน  ประกอบด้วย  หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและก่อสร้าง  รายละเอียดประเภทจ่ายงบกลาง  หมวดรายจ่ายต่าง ๆ และเงินนอกงบประมาณให้เป็นไปตามที่กรมการปกครองกำหนด
9. ประมาณรายรับขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประกอบด้วยเงินหมวดใดบ้าง
ก. หมวดภาษีอากร
ข. หมวดค่าธรรมเนียม  ค่าปรับและใบอนุญาต
ค. หมวดรายได้จากทรัพย์สิน
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ        ง.  ถูกทุกข้อ
                                ข้อ 17   ประมาณการรายรับขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประกอบด้วยรายได้ที่จำแนกเป็น
1. หมวดภาษีอากร
2. หมวดค่าธรรมเนียม ค่าปรับใบอนุญาต
3. หมวดรายได้จากทรัพย์สิน
4. หมวดรายได้จากสาธารณูปโภค  และกิจการพาณิชย์
5. หมวดเงินอุดหนุน
6. หมวดรายได้เบ็ดเตล็ด
10. รายละเอียดประเภทรายได้ และรายจ่ายตามงบประมาณรายจ่าย  เฉพาะการขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น  ให้เป็นไปตามที่หน่วยงานใดกำหนด
ก. กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
ข. กรมการปกครอง
ค. สภาท้องถิ่น
ง. กระทรวงมหาดไทย
ตอบ        ข.  กรมการปกครอง
                                ข้อ 18  รายละเอียดประเภทรายได้  และรายจ่ายตามงบประมาณรายจ่ายเฉพาะการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ให้เป็นไปตามที่กรมการปกครองกำหนด


แนวข้อสอบนักระบบงานคอมพิวเตอร์  อบต.เทศบาล อบจ.
แนวข้อสอบ  พระราชบัญญัติว่าด้วย
การกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์  พ.ศ. 2550
1. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์  พ.ศ. ๒๕๕๐  ว่าด้วยเรื่องอะไร
ก. ความผิดเกี่ยวกับพระราชบัญญัติ
ข. ความผิดเกี่ยวกับพนักงานเจ้าหน้าที่
ค. ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ง. ความผิดเกี่ยวกับกฎหมาย
ตอบ       ค.  ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
2. มาตรา ๖  ฐานความผิดว่าด้วยการล่วงรู้มาตราป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์  ต้องระวางโทษตามข้อใด
ก. จำคุกไม่เกินหนึ่งปี
ข. ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
ค. ทั้งจำทั้งปรับ
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ       ง.  ถูกทุกข้อ
                มาตรา ๖  ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ  ถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น  ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี  หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท  หรือทั้งจำทั้งปรับ
3. ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์  หมายความว่าอย่างไร
ก. ข้อมูล  ข้อความ  คำสั่ง  ชุดคำสั่ง  หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์
ข. ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์
ค. ถูกทั้ง ข้อ ก. และ ข.
ง. ไม่มีข้อถูก
ตอบ       ข.  ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์

                มาตรา ๓  ในพระราชบัญญัตินี้
 ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์  หมายความว่า  ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์  ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด  ต้นทาง  ปลางทาง  เส้นทาง  เวลา  วันที่  ปริมาณ  ระยะเวลา  ชนิดของบริการ  หรืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น
4. ผู้รับสนองพระบรมราชโองการคือ
ก. พลเอกสุรยุทธ์  จุลานนท์
ข. พ.ต.ท.ทักษิณ  ชินวัตร
ค. นายบรรหาร  ศิลปอาชา
ง. นายชวน  หลีกภัย
ตอบ       ก.  พลเอกสุรยุทธ์  จุลานนท์
5. การกระทำผิดในข้อใดต่อไปนี้  ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี  หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท  หรือทั้งจำทั้งปรับ
ก. เป็นการกระทำที่น่าจะทำให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง  ถูกดูหมิ่น  ถูกเกลียดชัง  หรือได้รับความอับอาย  และภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น  ตัดต่อ
ข. เป็นการกระทำโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์  หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ
ค. การกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชน  ไม่ว่าความเสียหายนั้นจะเกิดขึ้นในทันทีหรือในภายหลังและไม่ว่าจะเกิดขึ้นพร้อมกันหรือไม่
ง. นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ  โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน
ตอบ       ง.  นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ  โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน
                มาตรา ๑๔  ผู้ใดกระทำความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้  ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี  หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท  หรือทั้งจำทั้งปรับ
(๑) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน  หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ  โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน
(๒) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ  โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน
ฯลฯ
6. ผู้ใดกระทำโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์  จะต้องระวางโทษตามข้อใด
ก. ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท
ข. ปรับไม่เกินแปดหมื่นบาท
ค. จำคุกไม่เกินสี่ปี
ง. จำคุกไม่เกินห้าปี
ตอบ       ก.  ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท
                มาตรา ๘  ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้  ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์  และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี  หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท  หรือทั้งจำทั้งปรับ
7. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์  พ.ศ. ๒๕๕๐  มีทั้งหมดกี่มาตรา
ก. ๑๐  มาตรา
ข. ๒๐  มาตรา
ค. ๓๐  มาตรา
ง. ๔๐  มาตรา
ตอบ       ค.  ๓๐  มาตรา
8. ฐานในข้อใดต่อไปนี้ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สามปีถึงสิบห้าปี  และปรับตั้งแต่หกหมื่นบาทถึงสามแสนบาท
ก. นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมใดๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร
ข. การกระทำโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ
ค. นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ ที่มีลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้
ง. ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน
ตอบ       ข.  การกระทำโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ
                การกระทำโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์  หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ  ความปลอดภัยสาธารณะ  ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ  หรือการบริการสารธารณะ  หรือเป็นการกระทำต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะ  ต้องระวางโทษโทษจำคุกตั้งแต่สามปีถึงสิบห้าปี  และปรับตั้งแต่หกหมื่นบาทถึงสามแสนบาท
9. ผู้ให้บริการจะต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้อย่างน้อยกี่วัน
ก. ไม่น้อยกว่าสามสิบวัน  แต่ไม่เกินเก้าสิบวัน
ข. ไม่น้อยกว่าหกสิบวัน  แต่ไม่เกินหนึ่งร้อยยี่สิบวัน
ค. ไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน  แต่ไม่เกินหนึ่งปี
ง. ไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อยยี่สิบวัน  แต่ไม่เกินสองปี
ตอบ       ค.  ไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน  แต่ไม่เกินหนึ่งปี
                มาตรา ๒๖  ผู้ให้บริการต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้ไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับแต่วันที่ข้อมูลนั้นเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์  แต่ในกรณีจำเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งให้ผู้ให้บริการผู้ใดเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้เกินเก้าสิบวันแต่ไม่เกินหนึ่งปีเป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายและเฉพาะคราวก็ได้
10. มาตรา ๑๓  ฐานความผิดว่าด้วยการจำหน่ายหรือเผยแพร่ข้อมูลอันไม่เหมาะสม  ต้องระวางโทษตามข้อใด
ก. จำคุกไม่เกินหนึ่งปี
ข. จำคุกไม่เกินสองปี
ค. ปรับไม่เกินสามหมื่นบาท
ง. ปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท
ตอบ       ก.  จำคุกไม่เกินหนึ่งปี

                มาตรา ๑๓  ผู้ใดจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทำความผิดตาม มาตรา ๕  มาตรา ๖  มาตรา ๗  มาตรา ๘  มาตรา ๙  มาตรา ๑๐  หรือ มาตรา ๑๑  ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี  หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท  หรือทั้งจำทั้งปรับ

1. ซอฟแวร์ (Software) หมายถึงข้อใด
                ก.อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่สามารถจับต้องได้
                ข.ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียนขึ้นด้วยภาษาใดภาษาหนึ่ง
                ค.สื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้
                ง.การแปลคำสั่งทั้งหมดในโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูง
2. ข้อใดเป็นสัญลักษณ์ของระบบดิจิตอล
                ก.  ตัวเลข ตัวเลข                                           ข.  ตัวเลข ตัวอักษรA
ค. ตัวอักษร  ตัวเลข                                        ง.  ตัวอักษร ตัวอักษรB
3. ข้อใดเป็นสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้
                ก.  ซอฟต์แวร์ ( Software)                               ข. อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Hardware)
ค. ภาษาคอมพิวเตอร์                                            ง.คอมไพเลอร์ ( Compiler)
4.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับภาษารุ่นที่ 1
                ก.  ประกอบขึ้นจากค่าตัวเลข 0และ เรียงต่อกัน
                ข.  คอมพิวเตอร์สามารถทำความเข้าใจได้ทันที
                ค.มีความยุ่งยากมากในการเขียนโปรแกรม
                ง.  เป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์5. ภาษาคอมพิวเตอร์ในข้อใดไม่จัดอยู่ในภาษารุ่นที่ 3
                ก.  ภาษาจาวา                                                          ข.ภาษาซี
                ค.  ภาษาแอสแซมบลี                                            ง.ภาษาเบสิก
6.ข้อใดเป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำความเข้าใจได้ทันที
                ก.ภาษาเครื่อง                                                        ข.ภาษาแอสแซมบลี
                ค.ภาษาปาสกาล                                                     ง.ภาษาโคบอล
7. ตัวแปลภาษาในข้อใดที่มีการแปลเป็นแบบอินเตอร์พรีเตอร์                        
ก.ภาษาเครื่อง                                                        ข.ภาษาแอสแซมบลี
                ค.ภาษาปาสกาล                                                     ง.ภาษาโคบอล
8. ภาษาคอมพิวเตอร์ในข้อใดไม่ใช่ภาษาระดับสูง
                ก.ภาษาปาสกาล                                                     ข.  ภาษาแอสแซมบลี
                ค.  ภาษาฟอร์แทรน                                               ง.  ภาษาซี

9. คอมไพเลอร์ (Compiler) คือข้อใด
                ก.โปรแกรมระบบปฏิบัติการ                                ข.  โปรแกรมประยุกต์
                ค.โปรแกรมป้องกันไวรัส                     ง.โปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการแปลภาษา
10. ภาษาคอมพิวเตอร์ในข้อใดเหมาะสำหรับฝึกหัดการเขียนโปรแกรม
                ก.ภาษาปาสกาล                                                     ข.ภาษาแอสแซมบลี
                ค.ภาษาฟอร์แทรน                                                ง.ภาษาซี
11. ภาษา JAVA เป็นภาษาที่เหมาะสำหรับงานในข้อใด
                ก.ฝึกหัดเขียนโปรแกรม
                ข.การเขียนโปรแกรมเพื่อใช้งานในระบบอินเตอร์เน็ต
                ค.การนำไปใช้เป็นระบบปฏิบัติการยูนิกซ์
                ง.สำหรับใช้งานธุรกิจ
12. ประเภทของซอฟแวร์ในข้อใดจัดอยู่ในประเภทของซอฟแวร์ระบบทั้งหมด
                ก.โปรแกรมแปลภาษา, โปรแกรมระบบปฏิบัติการ
                ข.โปรแกรมประยุกต์,  โปรแกรมระบบปฏิบัติการ
                ค.โปรแกรมแปลภาษา, โปรแกรมประยุกต์
                ง.โปรแกรมประยุกต์, โปรแกรมใช้งานเฉพาะด้าน
13.ข้อใดคือซอฟแวร์ระบบ ( System Software)
                ก. ซอฟต์แวร์สำเร็จรูปที่มีผู้พัฒนาเพื่อใช้งานทั่วไปทำให้งานได้สะดวกขึ้น
                ข.ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ ซึ่งผู้ใช้เป็นผู้พัฒนาขึ้นเอง
                ค.ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาจำหน่ายให้ผู้ใช้งานซื้อไปได้โดยสะดวกขึ้น
                ง. ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่จัดการกับระบบพื้นฐานที่จำเป็นของเครื่องคอมพิวเตอร์
14. โปรแกรมระบบปฏิบัติการในข้อใด  สามารถทำงานในลักษณะของ Multi User /Multi Tasking
                ก.  DOS                                                                  ข.  Windows
ค. OS/2                                                                 ง.  UNIX
15. ผู้ทดสอบโปรแกรมเรียกว่าอะไร
               ก. Debugger                                                        ข. Programmer
ค. System  Analyst                                           ง. User
16.ซอฟต์แวร์ในข้อใดที่พัฒนาขึ้นให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งานโดยตรง
                ก.ซอฟต์แวร์สำเร็จ                                               ข.ซอฟแวร์ใช้งานเฉพาะด้าน
                ค. ซอฟต์แวร์ระบบ                                               ง.ซอฟต์แวร์ประยุกต์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น